ไดออกซิน มาได้ไง
เมื่อเราใช้พลาสติก จะรีไซเคิลหรือไม่ก็แล้วแต่ ในที่สุดแล้วปลายทางของมันก็คือขยะ
อ่านต่อ »
เมื่อเราใช้พลาสติก จะรีไซเคิลหรือไม่ก็แล้วแต่ ในที่สุดแล้วปลายทางของมันก็คือขยะ
อ่านต่อ »
เมื่อมีการใช้พลาสติกเป็นจำนวนมากในชีวิตประจำวัน การผลิตพลาสติกก็ยิ่งเพิ่มขึ้นทุกวันๆ ด้วยความที่สารเคมีตัวอื่นเข้ามาเอี่ยวในกระบวนการผลิตพลาสติกซึ่งใช้ทั้งความร้อน ความดัน การทำให้แข็ง คนในโรงงานผลิตพลาสติกจึงมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอยู่มาก อ่านต่อ »
กลไกต่างๆในร่างกายทำงานเหมือนโรงงานที่ไม่มีวันหยุดเพื่อให้เซลล์มีชีวิตอยู่ได้ เซลล์อยู่ได้ดี อวัยวะซึ่งเป็นศูนย์รวมของเซลล์แต่ละชนิดก็จะมีชีวิตที่สดชื่น ดุลความร้อนภายในร่างกายอาศัยกลไกไม่ต่างจากการปรับดุลของความร้อนบนพื้นโลกเลยละ อ่านต่อ »
เวลาพูดถึงอุณหภูมิ เรามักจะนึกถึงความร้อน-เย็นของอากาศ มากกว่าจะนึกถึงอาการป่วยของร่างกายคนยกเว้นเมื่อไรรู้สึกเมื่อยเนื้อเมื่อยตัว อ่อนแรงหรือเพลีย แล้วจะนึกถึงไข้จริงๆก็ต่อเมื่อจับผิวกายตัวแล้วพบว่าร้อนกว่าปกติ จึงจะหวนมานึกเรื่องของการมีไข้ อ่านต่อ »
อีกเรื่องหนึ่งที่มักได้ยินว่าเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุที่เนื่องมาจากสภาพรถ คือ เรื่องเบรคแตก
เบรคแตก เป็นคำบอกเล่าที่มักจะใช้คำนี้แทนเหตุการณ์ขณะขับรถ คือ “เบรคไม่อยู่ระหว่างรถวิ่ง”
แน่นอนว่าสิ่งที่สำคัญที่สุด คือ “มีสติ” แต่การมีแต่สติก็คงไม่ช่วยให้สามารถรอดชีวิตอย่างปลอดภัยได้หากไม่มีความเข้าใจวิธีจัดการปัญหาที่กำลังเกิดเฉพาะหน้า
จะทำอะไรได้บ้าง ก็นำมาบอกกันไว้เท่าที่มีคนบอกมาให้รู้ ใครมีอะไรเติมเต็มได้อีก มาช่วยกันนะคะ
อ่านต่อ »
เคยขับรถกลับบ้านที่ภูเก็ต ระหว่างวิ่งเข้าทางโค้งที่พังงา มีรถบรรทุกหินสวนทางมา แล้วมีก้อนหินเล็กๆกระเด็นมาโดนกระจกรถ รถเราก็วิ่งไม่เร็วเท่าไร ราวๆ 80 กม./ชม. เท่านั้นเอง เพียะเดียว กระจกหน้ารถร้าวไปทั้งแผ่น โชคดีที่มันแค่ร้าว ไม่แตกกระเด็นโดนหน้าให้ต้องหน้าแตกจนหมอด้วยกันไม่รับเย็บเพราะแผลเล็กแผลน้อยเต็มไปหมด อ่านต่อ »
อุบัติเหตุที่พบจากรายงานทั่วไประดับประเทศ นอกจากเกิดจากยางระเบิดแล้วทำให้เสียหายทั้งรถและชีวิตของคนในรถ ก็ยังมีรถตกน้ำที่เป็นสาเหตุร่วม
อ่านต่อ »
สัปดาห์ก่อนหลวงพี่เพื่อนร่วมรุ่น สสสส.๒ ได้รับบาดเจ็บจากการเดินทางระหว่างลงไปภาคใต้ สาเหตุมาจากการใช้รถ ใช้ถนนในที่แคบ คับขัน ไม่ได้เกิดจากยางรถระเบิด การบาดเจ็บก็เลยไม่มาก นึกได้ว่ามีคนให้คำแนะนำไว้ว่าจะทำอย่างไรได้บ้างให้ปลอดภัยหากระหว่างขับรถเกิดยางรถระเบิด จึงนำมาบอกต่อ เพื่อจะได้เข้าใจและปรับตัวเองให้พร้อม เพราะปฏิกิริยาตอบสนองในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน สั่งกันไม่ได้ แต่สามารถทำให้เกิดความปลอดภัยได้ หากเข้าใจพฤติกรรมตอบสนองของตัวเอง แล้วฝึกฝน “พฤติกรรมที่จะทำให้เสีย(อวัยวะและทรัพย์สิน) หาย (ชีวิต)” นั้นซะใหม่
อ่านต่อ »
มีประเด็นของอุบัติภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นบ่อยๆในบ้านเรา ตอนที่เกิดสึนามิ โชคดีที่มีคนคอยนำน้ำ นำอาหารมาให้ ทีมงานดูแลคนไข้จึงสามารถทำงานกันได้อย่างไร้ห่วงการไม่มีกิน น้ำใจที่หลั่งไหลเข้ามาสู่ในร.พ. ในตอนนั้น รับกันไม่ทัน คนที่ไร้ที่อยู่ที่มาพึ่งพิงชั่วคราวก็เลยได้มีกินไปด้วย ถ้าเหตุเกิดขึ้นอีกครั้ง คราวนี้ไม่รู้จะโชคดีมีคนดูแลอย่างเดิมหรือเปล่า จึงควรจะเตรียมความพร้อมไว้เสมอลองทบทวนความพร้อมของตัวเองดูนะคะ
ถึงแม้พื้นที่ประเทศไทยอาจไม่มีแผ่นดินไหวรุนแรงนัก และเป็นพื้นที่ที่น่าจะอยู่อันดับเขตเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวต่ำ (low seismic risk zone) ถึงเขตเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวปานกลาง (intermediate seismic risk zone) ก็ยัง “ต้อง” สนใจกับเรื่องบางเรื่อง ที่ต้องจัดการเพื่อความปลอดภัยซึ่งกฏหมายกำหนดไว้ อ่านต่อ »