ใช้รถ ใช้ลิฟท์ เมื่อเกิดแผ่นดินไหว….มีนาทีทอง….ให้ลุ้น
คำแนะนำที่ ๗ ถ้ากำลังขับรถให้หยุดรถและอยู่ภายในรถ จนกระทั่งการสั่นสะเทือนจะหยุด
อ่านต่อ »
เกิดแผ่นดินไหว ให้อยู่ห่างจากชายฝั่ง
คำแนะนำ ๖ ถ้าอยู่ชายหาด ให้อยู่ห่างจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นขนาดใหญ่ซัดเข้าหาฝั่ง อ่านต่อ »
ดูแลตนเองเมื่อเกิดแผ่นดินไหวบนบก
มีคำแนะนำการดูแลตนเองในระหว่างเกิดแผ่นดินไหวบนบกไว้ในหลายที่ เป็นคำแนะนำจากตำราที่เขียนไว้หลายสิบปีแล้ว คำแนะนำเหล่านั้นมีดังนี้ อ่านต่อ »
จัดการบ้านหลังน้ำลด…แบบว่า…ช่วยลดน้ำเสียไปด้วย
ทุกๆวัน เมื่อมีการใช้น้ำก็มีน้ำระบายทิ้ง มีการดำรงชีวิตก็มีของระบายทิ้งในรูปน้ำและสารอินทรีย์เหลือใช้ ที่เรียกกันว่า “ของเสีย” แต่จะไม่ใคร่รู้ว่า การย่อยของเสียที่ว่านั้นเปลืองออกซิเจนไปเท่าไร
ก็ไปได้คำตอบจากผู้รู้เรื่องของเสียมาว่า การย่อยสลายของผลผลิตเหลือใช้ของคนหนึ่งคนในวันหนึ่ง เปลืองออกซิเจนรวมๆแล้ว 54 กรัม เป็นการใช้ย่อยสลายของเสีย 12 กรัม ซักล้างและอาบน้ำ 18 กรัม น้ำจากครัว 24 กรัม อ่านต่อ »
เรื่องราวบางตอนของหลุมยุบ
ประสบการณ์หลุมยุบในประเทศไทยหลังสึนามิ : ระหว่าง ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ - ๒๓ มกราคม ๒๕๔๙ อ่านต่อ »
อาหารและน้ำดื่มกับโลหะหนัก
นับแต่โลกเจริญด้วยวิทยาศาสตร์ โลหะก็เป็นสารที่พบอยู่ทั่วไปทุกแห่งหน แถมมาด้วยมีการปนเปื้อน อยู่ในแหล่งอาหารและน้ำอุปโภค บริโภค อ่านต่อ »
ลองตรวจดูซะแต่ตอนนี้เหอะ
มีประเด็นของอุบัติภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นบ่อยๆในบ้านเรา ตอนที่เกิดสึนามิ โชคดีที่มีคนคอยนำน้ำ นำอาหารมาให้ ทีมงานดูแลคนไข้จึงสามารถทำงานกันได้อย่างไร้ห่วงการไม่มีกิน น้ำใจที่หลั่งไหลเข้ามาสู่ในร.พ. ในตอนนั้น รับกันไม่ทัน คนที่ไร้ที่อยู่ที่มาพึ่งพิงชั่วคราวก็เลยได้มีกินไปด้วย ถ้าเหตุเกิดขึ้นอีกครั้ง คราวนี้ไม่รู้จะโชคดีมีคนดูแลอย่างเดิมหรือเปล่า จึงควรจะเตรียมความพร้อมไว้เสมอลองทบทวนความพร้อมของตัวเองดูนะคะ
กฏหมายที่เกี่ยวกับแผ่นดินไหว
ถึงแม้พื้นที่ประเทศไทยอาจไม่มีแผ่นดินไหวรุนแรงนัก และเป็นพื้นที่ที่น่าจะอยู่อันดับเขตเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวต่ำ (low seismic risk zone) ถึงเขตเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวปานกลาง (intermediate seismic risk zone) ก็ยัง “ต้อง” สนใจกับเรื่องบางเรื่อง ที่ต้องจัดการเพื่อความปลอดภัยซึ่งกฏหมายกำหนดไว้ อ่านต่อ »
มาตรวัดแผ่นดินไหวใช้แบบไหนเตือนภัยดีกว่า
ผลเทียบมาตราริคเตอร์กับลักษณะของความรุนแรงที่ปรากฏในมาตราแคลลี่คัดลอกมาไว้ใช้งาน คิดว่าใช้แบบไหนดีกว่าก็เลือกเองสำหรับการเตรียมตัว “เผ่น” หรือ “เข้าหา” อ่านต่อ »