คนก็จำศีลนะ
ก่อนไปสวนป่าก็ได้เจอสภาพ “จำศีล” ในคนหลายคน ไปสวนป่าก็ไปเจอในกลุ่มชาวเฮอีก บันทึกนี้เขียนเล่าสู่กันฟังจากคำขอของครูใหญ่โรงเรียนมงคลวิทยาให้ช่วยอธิบายสิ่งที่เจอ อ่านต่อ »
ก่อนไปสวนป่าก็ได้เจอสภาพ “จำศีล” ในคนหลายคน ไปสวนป่าก็ไปเจอในกลุ่มชาวเฮอีก บันทึกนี้เขียนเล่าสู่กันฟังจากคำขอของครูใหญ่โรงเรียนมงคลวิทยาให้ช่วยอธิบายสิ่งที่เจอ อ่านต่อ »
หลังจากทิ้งห่างการไปเยือนสวนป่าซะเป็นปี เมื่อต้นเดือนที่เพิ่งผ่านพ้น ได้มีโอกาสแวะไปสวนป่าเป็นครั้งที่ 2 ของปีนี้
ครั้งแรกที่ไปเยือน พ่อครูเริ่มต้นให้ธรรมชาติบำบัดเป็นครูแล้ว เมนูประจำวันที่จัดไว้มักจะเป็น เป็นชาสะระแหน่มื้อเช้า สลัดผักมื้อสาย ข้าวและซุปผักมื้อเที่ยง ผลไม้มื้อเย็น บางวันระหว่างมื้อมีผลไม้บ้าง งดเนื้อสัตว์ และบางวันปรับ 3 มื้อเหลือ 2 มื้อ
ครั้งที่ 2 ที่ไปเยือนเป็นวาระครบรอบเวลาที่พ่อครูตั้งใจสรุปบทเรียนพอดี อ่านต่อ »
โดยหลักของธรรมชาติ เมื่อมีความร้อนก็ต้องถ่ายเทความร้อนเพื่อรักษาสมดุลย์ ความร้อนในร่างกายก็เช่นเดียวกัน
เมื่อไรที่อุณหภูมิร่างกายไม่อยู่ที่ 98.6 องศาฟาเรนไฮต์ หรือ 37 องศาเซลเซียส อวัยวะ 3 ชนิดจะลงมือจัดการรักษาสมดุล ลงมือควบคุมความร้อน เมื่อไรการควบคุมทำไม่ได้ก็จะเกิดความผิดปกติและเจ็บป่วยเกิดขึ้น อ่านต่อ »
ช่วงนี้เป็นช่วงที่อากาศในหลายภาคแปรปรวน เดี๋ยวร้อน เดี๋ยวเปียก ส่วนหนาวนะหายไปเลย
2 ครั้งล่าที่ไปสวนป่า ก็มีเรื่องให้นำกลับมาทบทวนเกี่ยวกับอากาศในอีกมุม
อ่านต่อ »
ทุกๆวัน เมื่อมีการใช้น้ำก็มีน้ำระบายทิ้ง มีการดำรงชีวิตก็มีของระบายทิ้งในรูปน้ำและสารอินทรีย์เหลือใช้ ที่เรียกกันว่า “ของเสีย” แต่จะไม่ใคร่รู้ว่า การย่อยของเสียที่ว่านั้นเปลืองออกซิเจนไปเท่าไร
ก็ไปได้คำตอบจากผู้รู้เรื่องของเสียมาว่า การย่อยสลายของผลผลิตเหลือใช้ของคนหนึ่งคนในวันหนึ่ง เปลืองออกซิเจนรวมๆแล้ว 54 กรัม เป็นการใช้ย่อยสลายของเสีย 12 กรัม ซักล้างและอาบน้ำ 18 กรัม น้ำจากครัว 24 กรัม อ่านต่อ »
เวลาน้ำท่วมบ่อน้ำตื้นที่ใช้สอยต่างๆก็จะมีน้ำสกปรกลงไปปนเปื้อน จะใช้ประโยชน์ใหม่ก็ต้องจัดการคุณภาพน้ำกันก่อน
ระหว่างที่ยังไม่ใช้สอย ก็มีควรจัดการน้ำให้ชาวบ้านด้วย วิธีจัดการก็ไม่พ้นใช้คลอรีนใส่ฆ่าเชื้อโรคให้ อ่านต่อ »
ในภาวะที่ขาดแคลนน้ำใช้สอย แล้วต้องหันมาพึ่งตัวเอง ต้องการน้ำสะอาดแค่ไหน ปริมาณเท่าไรก็เป็นเรื่องปัจเจก เมื่อไม่มีเครื่องมืออะไรเลย ก็ต้องใช้วิธีจัดการน้ำที่ง่ายๆไปก่อนให้ได้น้ำไว้ใช้สอย พอประทังความขาดแคลนได้
อ่านต่อ »
ประสบการณ์หลุมยุบในประเทศไทยหลังสึนามิ : ระหว่าง ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ - ๒๓ มกราคม ๒๕๔๙ อ่านต่อ »
เคยเล่าเรื่องเมนูอาหารและแหล่งพืชที่มีฟอสฟอรัสต่ำเอาไว้ เผื่อคนที่จำเป็นต้องจำกัดฟอสฟอรัสจะได้ใช้ประโยชน์ บันทึกนี้ขอเติมต่อ เพื่อใช้ประโยชน์ในการระวังการได้รับฟอสฟอรัสสูงทางอ้อมไปด้วยกัน อ่านต่อ »
ฟอสฟอรัสเกี่ยวพันใกล้ชิดอยู่ในห่วงโซ่อาหาร ความผูกพันในเชิงสมดุลกับแคลเซียมที่ส่งผลเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน ทำให้จำเป็นต้องรู้ว่ามันอยู่ที่ไหนบ้างในแหล่งอาหารจากสัตว์และพืช รวมไปถึงรู้สัดส่วนมากน้อยของแคลเซียมในแหล่งอาหารนั้นๆ อ่านต่อ »