สารลดแรงตึงผิวกับสุขภาพ
ผลิตภัณฑ์ซักล้างโดยทั่วไปมีสารลดแรงตึงผิวทำหน้าที่จับตัวกับสิ่งสกปรก สารตัวที่ใช้กันมากมี 2 ชนิด คือ linear alkyl benzene sulfonate (LAS) และ sodium lauryl ether sulfate (SLES) และมีตัวอื่นอีก อ่านต่อ »
ผลิตภัณฑ์ซักล้างโดยทั่วไปมีสารลดแรงตึงผิวทำหน้าที่จับตัวกับสิ่งสกปรก สารตัวที่ใช้กันมากมี 2 ชนิด คือ linear alkyl benzene sulfonate (LAS) และ sodium lauryl ether sulfate (SLES) และมีตัวอื่นอีก อ่านต่อ »
ฟังนักวิทยาศาสตร์ด้านอาหารเล่าเรื่องสีน้ำตาลของอาหารแล้วทึ่ง ไม่เคยนึกมาก่อนว่าจะมีกรดอะมิโนและน้ำตาลเข้ามาเกี่ยวกับสีๆ อ่านต่อ »
ยังมีเชื้อโรคอีกกลุ่มที่กระบวนงานอาหารปลอดภัยให้ความสำคัญในการตามรอย เชื้อโรคในกลุ่มนี้้ใช้ร่างกายสัตว์หรือคนเป็นคอนโดอาศัย เชื้อในกลุ่มนี้มี 2 พวก พวกหนึ่งเป็นเชื้อที่มีรูปร่างเป็นท่อน อีกพวกเป็นเชื้อไวรัส อ่านต่อ »
บันทึกนี้ชวนมาทำความรู้จักกันนิสัยเชื้อโรคที่ทำให้เกิดอาหารเป็นพิษได้กันค่ะ เชื้อโรคที่ทำให้เกิดโรคอาหารเป็นพิษได้ มีเชื้อ 4 พวกนี้ :
อ่านต่อ »
ได้เล่าให้ฟังแล้วว่า ถ้าเป็นเรื่องเกี่ยวกับคนและภาชนะ กระบวนการค้นหาทางนิติวิทยาศาสตร์ในกระบวนงานอาหารปลอดภัยเน้นไปที่การค้นหาเชื้อก่อโรค สัญญลักษณ์พ่อครัวบนป้ายเขียวที่เห็นกันชินตามีขอบเขตอยู่อย่างไร ที่ไม่ได้เล่า คือ เรื่องอายุป้าย อ่านต่อ »
สารไนเตรทในวงจรของธาตุไนโตรเจนมีประโยชน์ต่อพืช แต่ก็สามารถก่อผลกับสุขภาพคนได้ ไม่อยากได้สารก่อมะเร็งเข้าไปสะสมในตัว สารไนเตรทมาถึงตัวได้ยังไง ก็ควรรู้ไว้ อ่านต่อ »
คุยกันเรื่องนโยบายงานสาธารณสุขในยุคที่เปลี่ยนเจ้านายคนใหม่ ซึ่งยังเดาใจไม่ออกว่าจะเอายังไงต่อกับสุขภาพของเกษตรกรที่ดำเนินมาร่วมปี ลงเอยกันว่าถึงนายใหม่ไม่เอาด้วย ก็จะยังจับงานนี้สานต่อ ใช้แนวหมู่บ้านสีเขียวเป็นความหวังเดินไปข้างหน้า นำร่องในพื้นที่ที่มีงบของสสส.อยู่แล้ว บูรณาการลงในพื้นที่ ถ้าคนพื้นที่เอาด้วย อ่านต่อ »
นับแต่โลกเจริญด้วยวิทยาศาสตร์ โลหะก็เป็นสารที่พบอยู่ทั่วไปทุกแห่งหน แถมมาด้วยมีการปนเปื้อน อยู่ในแหล่งอาหารและน้ำอุปโภค บริโภค อ่านต่อ »
ในชีวิตปัจจุบันของคนเมืองในต่างจังหวัด มีพื้นที่อยู่ไม่มากในประเทศไทยที่มีผักปลอดสารให้ซื้อหาได้ โดยเฉพาะในจังหวัดท่องเที่ยว ต้องพึ่งพิงแหล่งปลูกผักจากที่อื่นทั้งนั้นเลย อ่านต่อ »
คลอรีนมีข้อด้อยอยู่ตรงที่ทำปฏิกริยากับกลุ่มของกรดอินทรีย์ คือ กรดฮิวมิค (Humic acid) ได้ แล้วทำให้เกิดไตรฮาโลมีเทน (Trihalomethanes : THMs) ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง อ่านต่อ »