กระจกรถแตกระหว่างเดินทาง ทำอะไรได้บ้าง

1 ความคิดเห็น โดย สาวตา เมื่อ 6 กุมภาพันธ 2011 เวลา 10:07 (เช้า) ในหมวดหมู่ การจัดการ, ฉุกเฉินจากรถ, ชีวิต สุขภาพ, ดูแลสุขภาพ #
อ่าน: 6312

เคยขับรถกลับบ้านที่ภูเก็ต ระหว่างวิ่งเข้าทางโค้งที่พังงา มีรถบรรทุกหินสวนทางมา แล้วมีก้อนหินเล็กๆกระเด็นมาโดนกระจกรถ รถเราก็วิ่งไม่เร็วเท่าไร ราวๆ 80 กม./ชม. เท่านั้นเอง เพียะเดียว กระจกหน้ารถร้าวไปทั้งแผ่น โชคดีที่มันแค่ร้าว ไม่แตกกระเด็นโดนหน้าให้ต้องหน้าแตกจนหมอด้วยกันไม่รับเย็บเพราะแผลเล็กแผลน้อยเต็มไปหมด อ่านต่อ »


รถตกน้ำ ทำอะไรได้บ้างเพื่อให้ปลอดภัย

10 ความคิดเห็น โดย สาวตา เมื่อ 5 กุมภาพันธ 2011 เวลา 17:48 (เย็น) ในหมวดหมู่ การจัดการ, ฉุกเฉินจากรถ, ชีวิต สุขภาพ, ดูแลสุขภาพ #
อ่าน: 4795

อุบัติเหตุที่พบจากรายงานทั่วไประดับประเทศ นอกจากเกิดจากยางระเบิดแล้วทำให้เสียหายทั้งรถและชีวิตของคนในรถ ก็ยังมีรถตกน้ำที่เป็นสาเหตุร่วม
อ่านต่อ »


ยางระเบิดฉุกเฉินระหว่างขับรถ ทำอะไรได้บ้าง

4 ความคิดเห็น โดย สาวตา เมื่อ 5 กุมภาพันธ 2011 เวลา 17:44 (เย็น) ในหมวดหมู่ การจัดการ, ฉุกเฉินจากรถ, ชีวิต สุขภาพ, ดูแลสุขภาพ #
อ่าน: 5096

สัปดาห์ก่อนหลวงพี่เพื่อนร่วมรุ่น สสสส.๒ ได้รับบาดเจ็บจากการเดินทางระหว่างลงไปภาคใต้ สาเหตุมาจากการใช้รถ ใช้ถนนในที่แคบ คับขัน ไม่ได้เกิดจากยางรถระเบิด การบาดเจ็บก็เลยไม่มาก นึกได้ว่ามีคนให้คำแนะนำไว้ว่าจะทำอย่างไรได้บ้างให้ปลอดภัยหากระหว่างขับรถเกิดยางรถระเบิด จึงนำมาบอกต่อ เพื่อจะได้เข้าใจและปรับตัวเองให้พร้อม เพราะปฏิกิริยาตอบสนองในระหว่างเกิดเหตุฉุกเฉิน สั่งกันไม่ได้ แต่สามารถทำให้เกิดความปลอดภัยได้ หากเข้าใจพฤติกรรมตอบสนองของตัวเอง แล้วฝึกฝน “พฤติกรรมที่จะทำให้เสีย(อวัยวะและทรัพย์สิน) หาย (ชีวิต)”  นั้นซะใหม่
อ่านต่อ »


ลองตรวจดูซะแต่ตอนนี้เหอะ

อ่าน: 2160

มีประเด็นของอุบัติภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นบ่อยๆในบ้านเรา ตอนที่เกิดสึนามิ โชคดีที่มีคนคอยนำน้ำ นำอาหารมาให้ ทีมงานดูแลคนไข้จึงสามารถทำงานกันได้อย่างไร้ห่วงการไม่มีกิน น้ำใจที่หลั่งไหลเข้ามาสู่ในร.พ. ในตอนนั้น รับกันไม่ทัน คนที่ไร้ที่อยู่ที่มาพึ่งพิงชั่วคราวก็เลยได้มีกินไปด้วย ถ้าเหตุเกิดขึ้นอีกครั้ง คราวนี้ไม่รู้จะโชคดีมีคนดูแลอย่างเดิมหรือเปล่า จึงควรจะเตรียมความพร้อมไว้เสมอลองทบทวนความพร้อมของตัวเองดูนะคะ

อ่านต่อ »


กฏหมายที่เกี่ยวกับแผ่นดินไหว

2 ความคิดเห็น โดย สาวตา เมื่อ 2 กุมภาพันธ 2011 เวลา 21:48 (เย็น) ในหมวดหมู่ การจัดการ, ชีวิต สุขภาพ, ดูแลสุขภาพ, สิ่งแวดล้อม, แผ่นดินไหว #
อ่าน: 2784

ถึงแม้พื้นที่ประเทศไทยอาจไม่มีแผ่นดินไหวรุนแรงนัก และเป็นพื้นที่ที่น่าจะอยู่อันดับเขตเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวต่ำ (low seismic risk zone) ถึงเขตเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวปานกลาง (intermediate seismic risk zone) ก็ยัง “ต้อง” สนใจกับเรื่องบางเรื่อง ที่ต้องจัดการเพื่อความปลอดภัยซึ่งกฏหมายกำหนดไว้ อ่านต่อ »


น้ำลายกับหินปูนเกาะฟัน

อ่าน: 20585

เคยติดใจถามหมอฟันว่า สอนเรื่อง “การแปรงฟัน”  ทุกปีๆ แล้วทำไมคนจึงยังฟันผุ มีหินปูนมาให้ขูด  คำตอบก็มักจะเป็น “แปรงฟันผิดวิธี”  วันนี้ไปพบหมอฟันขอใช้บริการขูดหินปูน หมอฟันบอกว่ามีหินปูนนิดหน่อย ก็นึกถึงที่อาจารย์ทวิชบอกว่าจะไม่แปรงฟัน และตั้งคำถามเรื่อง “หินปูนทำไมไม่ละลายในน้ำลาย” ขึ้นมาได้ เลยยกเรื่องในช่องปากมาคุยต่อซะหน่อย อ่านต่อ »


มาตรวัดแผ่นดินไหวใช้แบบไหนเตือนภัยดีกว่า

อ่าน: 2456

ผลเทียบมาตราริคเตอร์กับลักษณะของความรุนแรงที่ปรากฏในมาตราแคลลี่คัดลอกมาไว้ใช้งาน คิดว่าใช้แบบไหนดีกว่าก็เลือกเองสำหรับการเตรียมตัว “เผ่น” หรือ “เข้าหา” อ่านต่อ »


เฝ้าระวังหลุมยุบ vs ระบบเตือนภัย

อ่าน: 2307

ถอดบทเรียนมาเป็นครู(๑) : อ่านต่อ »


หลุมยุบ

อ่าน: 2840

ถอดบทเรียนผิดแล้วเป็นครู :

อ่านต่อ »


กินสารรังสีแล้วควรทำยังไง

อ่าน: 6246

ช่วงวันหยุดยาวต้นๆปีใหม่ ๒๕๕๓ ได้รับข่าวการป่วยของกัลยาณมิตรซึ่งได้พบและคุยกันครั้งแรกที่สวนรถไฟ  มีคำถามที่ปรึกษาไว้ว่าเมื่อได้รับสารรังสีเข้าไปในร่างกาย คนข้างตัวจะเป็นอะไรบ้างไหม  ก็รับปากว่าจะไปถามผู้รู้มาให้อีกต่อ อ่านต่อ »



Main: 0.029152870178223 sec
Sidebar: 0.14719009399414 sec