ไขมันในตัวคน
เวลาที่ผู้คนไปตรวจเลือด มักจะกลับมาคุยกันดังลั่นว่า เดือนนี้หมอไม่บ่นเรื่องไขมัน คุยกันนานเข้าๆ ก็กลายเป็น คอเลสเตอรอลแทน อ่านต่อ »
เวลาที่ผู้คนไปตรวจเลือด มักจะกลับมาคุยกันดังลั่นว่า เดือนนี้หมอไม่บ่นเรื่องไขมัน คุยกันนานเข้าๆ ก็กลายเป็น คอเลสเตอรอลแทน อ่านต่อ »
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ที่กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการกันอยู่ ส่วนใหญ่ก็เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจากการใช้หลักคิดด้าน “สังคมวิทยาการแพทย์” เรื่องเกลือก็เป็นเรื่องหนึ่งที่ต่อยอดมาจากหลักสังคมวิทยาการแพทย์ อ่านต่อ »
การป้องกันไม่ให้ไอคิวของผู้คนต่ำ จนกลายเป็นภาระของสังคมไม่ว่าจะในด้านใด จะอายุใด ทำได้โดยการบริโภคไอโอดีนให้เพียงพอ แต่ก่อนเมื่อเอ่ยถึงเรื่องขาดไอโอดีน คนจะนึกถึงคนคอโตแบบเหนียงวัว เดี๋ยวนี้จะหาคนที่คอโตแบบนั้นไม่ง่ายแล้วค่ะ อ่านต่อ »
ในข่าวที่กระทรวงสาธารณสุขให้กับสังคม มีการเอ่ยถึงการแท้งบุตร การตายของบุตรในครรภ์หญิงตั้งครรภ์ เมื่อให้ข้อมูลเรื่องการขาดสารไอโอดีน ตรงนี้คนที่กำลังเป็นพ่อแม่คนก็คงยังไม่กระจ่างว่า ไอโอดีนมาเกี่ยวอะไร
อ่านต่อ »
การตามรอยความสัมพันธ์ของห่วงโซ่อาหารจากทะเลจนมาถึงตัวคน สะกิดให้หันมาทบทวนเรื่องฮอตฮิต “ไอคิวเด็กไทย” ซึ่งในวันนี้กระทรวงสาธารณสุขใช้วิธีแก้ ด้วยการให้ข่าวแก่สังคมว่า ที่เด็กไทยไอคิวต่ำ เกิดจากการขาดสารอาหารที่ร่างกายต้องการไม่มากแต่ขาดไม่ได้ คือ ไอโอดีน และจะออกกฎหมายบังคับ ให้โรงงานที่ผลิตเกลือที่ต้องใช้เพื่อการบริโภค ปรับปรุงเกลือที่ผลิตให้มีไอโอดีนเพียงพอสำหรับผู้บริโภค อ่านต่อ »
พลาสติกมีคุณอนันต์ในเรื่องความสะดวก แต่ก็มีโทษมหันต์ในเรื่องความเป็นพิษ จะว่าไปแล้วพลาสติกที่ผลิตได้ในวันนี้ ยังไม่มีชนิดไหนที่ประกันตัวเองได้ว่าไม่มีพิษ
พาทาเลตไม่ได้มีอยู่แต่ใน PVC ในโพลียูรีเทน และ PVA ก็มี
นอกจากพาทาเลต PVC ยังมีสารก่อมะเร็งอีกตัว คือ Vinyl chloride ซึ่งเป็น monomerที่ใช้ในการผลิต PVC จัดเป็นสารก่อมะเร็งด้วย
อ่านต่อ »
พลาสติกรอบตัวมีขนาดตั้งแต่เล็กกว่าไม้จิ้มฟันยันเรือรบ เมื่อพลาสติกใกล้ตัวมาก ก็จำเป็นต้องรู้จักตัวร้ายๆไว้ ไดออกซินเป็นก๊กแรกที่ชวนให้ทำความรู้จักกันบ้างแล้ว แต่ยังไม่ลึก อ่านต่อ »
เชื่อว่ามีหลายคนในลานปัญญาและที่ผ่านเข้ามาอ่าน กำลังใช้งานผ้าอ้อมอนามัยอยู่บ้าง เมื่อชวนไว้ให้เปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ผ้าอ้อมอนามัย เพื่อช่วยลดมลภาวะ ก็ต้องช่วยเสนอทางเลือกว่าจะใช้อะไรแทนได้บ้าง อ่านต่อ »
เมื่อตอนน้ำมันเชื้อเพลิงมีราคาแพงขึ้นยังไม่มาก สาธารณสุขชนได้ชวนให้เอกชนสนใจและมี CSR กับการจัดการส่วนผสมในน้ำมันให้ปลอดภัยจากสารตะกั่ว ต่อเนื่องมาด้วยชวนจัดการ “อาหารสะอาด รสชาดอร่อย” จนมาถึง “อาหารปลอดภัย”
ภายใต้กิจกรรมต่างๆเหล่านี้ นางร้ายผู้ใช้ชื่อว่า “สารเคมีก่อโรค” ยังไม่ดัง ทั้งๆที่เธอมีคุณสมบัติน่าสนใจ สาธารณสุขชนผู้ปั้นจึงเบนเข็มไปหาชื่อที่สื่อคุณสมบัติของเธอ ที่เตะตากว่ามาใช้ เพื่อชวนให้คนมาสนใจศึกษา เรียนรู้เรื่องราวเกี่ยวกับเธอ วันนี้นางร้ายตัวนี้มีชื่อใหม่ว่า “สารเคมีก่อมะเร็ง” นะคะ จะดังหรือดับก็ลองมารู้จักเธอด้วยกัน อ่านต่อ »
งานประจำทำให้ไม่แปลกหูเมื่อพูดถึงจุลินทรีย์ และมีจุลินทรีย์ที่ย่อยสารเคมีแล้วให้สารชีวภาพเข้ามาทดแทน PE,PP แต่ที่แปลกก็เป็นมุมนี้ค่ะ มีจุลินทรีย์ที่สามารถลดสารพิษก่อมะเร็งอย่างฟรีแนนทรีนในอากาศได้ และจุลินทรีย์ที่ว่านี้อยู่บนใบไม้ อ่านต่อ »