พืชประเภทหัวและผลไม้ที่มีฟอสฟอรัสต่ำ

อ่าน: 5778

บันทึกนี้ขอรวบรวมพืชจำพวกหัวและผลไม้ที่คนซึ่งมีปัญหาเรื่องไตทำงานไม่ปกติสามารถจะเลือกกินได้ตามกำลัง มาเล่าให้ฟัง

เริ่มกลุ่มพืชก่อนแล้วกัน ส่วนรูปร่างหน้าตาเป็นยังไง ค้นหากันเองไปก่อนละกันหากว่าไม่รู้จักมัน (ว่างๆจะแวบกลับมาหารูปใส่ไว้ให้ค่ะ) อ่านต่อ »


เมนูนี้ฟอสฟอรัสเกินหรือเปล่า

อ่าน: 6247

ในเมนูตัวอย่าง ที่ดูจะเข้าเค้ากินพืชมากกว่าผัก มีบางมุมที่ควรดูแลไม่ให้ทำร้ายไตด้วย เอาเมนูมาดูกันหน่อยว่าในแง่ของไตจะเสียท่าในเรื่องอะไรบ้างหรือเปล่า

ไปลองดูรายการที่รวบรวมไว้ว่าพืชไหนที่มีฟอสฟอรัสต่ำ ก็ พบว่ามีอยู่หลายกลุ่มที่ไม่เคยเขีียนเล่าไว้ ในเรื่องของการให้น้ำตาล และฟอสฟอรัส นั่นคือ กลุ่มของถั่วและพืชเมล็ด กลุ่มพืชประเภทหัวๆทั้งหลาย ผลไม้ และ เนื้อสัตว์

วันก่อนแนะนำน้องชายไว้ให้เพิ่มโปรตีนอีกหน่อย เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารเพียงพอกับการใช้งาน และได้แนะนำให้กินอาหารโปรตีนไขมันน้อย ซึ่งเมื่อไปเปิดตำราเทียบให้ก็ร้องจ๊ากกกกกกกกกกก กับข้อมูลที่ได้มา ทำให้รีบมาเขียนบันทึกเพิ่มให้ก่อนเพื่อให้ทันการใช้งาน

อ่านต่อ »


อาหารนี้เค็มนะ รู้หรือเปล่า

อ่าน: 3039

บันทึกนี้ขอว่าต่อเรื่องแหล่งอาหารเค็ม ที่อาจจะไม่รู้ว่าเค็มอยู่แล้ว แล้วยังเติมเครื่องปรุงรสหรืออาจจะกินโดยลืมตัวด้วยความอร่อย เนื่องจากลิ้นของตัวบอกว่ายังไม่เค็ม

เวลากินเมนูจากแหล่งเหล่านี้ อย่าลืมเตือนตัวเอง “ระวังตายไวจากไตวาย” นะคะ   มาดูกันหน่อยว่ามีพวกไหนบ้าง

อ่านต่อ »


อาหารนี้กินน้อยไตจะสบายๆตลอดนะ

อ่าน: 2035

อาหารที่กินเข้าไปก่อความเป็นกรดและด่างในร่างกาย โดยหมุนวนอยู่ในส่วนน้ำของเลือด (น้ำเหลือง plasma)  การเกิดภาวะกรดในเลือดแบบนี้ ทำให้ร่างกายค่อยๆอ่อนแอลง เนื่องจากภาวะเป็นกรดในเลือดทำให้การรับออกซิเจนจากน้ำเหลืองเข้าไปในเม็ดเลือดแดงทำได้ยากขึ้น  ถ้าเปรียบเม็ดเลือดแดงเหมือนคน น้ำเหลืองคืออากาศรอบตัวคน ภาวะนี้จึงเสมือนกับการเกิดเป็นลมของคนที่เกิดจากการหายใจไม่พอที่ระดับเม็ดเลือดแดงนั่นเอง อ่านต่อ »


กินแล้วรวยหรือเปล่า

อ่าน: 3275

เคล็ดที่ไม่ลับการกินให้มีใช้-มีออมมีหลักอยู่ที่ความเข้าใจในเรื่อง “กินเพื่ออะไร”

ปกติร่างกายคนมีการจัดการอาหารเหมือนกับการจัดการเงิน วัตถุประสงค์จึงเหมือนกันอยู่ที่ “มีใช้-มีออม”  ไม่เหมือนกันตรงจุด “ความพอดีของการออม”

อ่านต่อ »


สลับเมนู สลับมื้อ ช่วยเรื่องคุมหวานได้บ้างไหม

อ่าน: 2138

ตามเมนูที่อ้ายเปลี่ยนจัดเมนูอาหารไว้ ฉันมองว่ายังสามารถใช้วิธีสลับเมนู สลับมื้อ เข้าไปช่วยให้การปรับลดความหวานของร่างกายเป็นไปได้ดีขึ้นกว่าเดิม (หมายถึงระดับเบาหวานลดลง) ได้นะ

อ่านต่อ »


นมถั่วเหลือง-น้ำเต้าหู้มีเกลือหรือเปล่า

อ่าน: 3643

มื้อเช้า น้ำเต้าหู้ไม่ใส่น้ำตาล ข้าวสวยครึ่งทัพพี ผัดมันฝรั่งผงกระหรี่ครึ่งถ้วยเล็ก กาแฟดำ
มื้อกลางวัน ข้าวสวยครึ่งทัพพี หมากค้อดอง กาแฟดำ กล้วยน้ำว้า ๑ ลูก
บ่าย นมถั่วเหลืองชนิดหวานน้อย ๑ กล่อง
เย็น แกงผักกาดใส่ขิง ข้าวสวยสองช้อนโต๊ะ

ไม่เคยเล่าเรื่องถั่วๆให้ฟังเลย  ขอเล่าเรื่องถั่วในเมนูของอ้ายเปลี่ยนก่อนก็แล้วกัน เริ่มเรื่องจากผลิตภัณฑ์ถั่วเหลืองก่อนค่ะ อ่านต่อ »


กินเค็มหรือเปล่า

อ่าน: 2306

เล่าไปแล้วว่าเวลาหมอๆพูดกันเรื่องเกลือ เรื่องเค็ม นั้น ใช้สื่อแทนปริมาณธาตุโซเดียมในร่างกาย

โซเดียมเป็นธาตุตัวหนึ่งซึ่งร่างกายใช้ปรับสมดุลเคมีภายในร่างกาย อ่านต่อ »


มาดูกันหน่อยว่าเบาหวานจะลดได้หรือเปล่า

อ่าน: 2345

เมื่อได้เขียนบันทึกก่อนหน้านี้จบลงแล้ว ไปนั่งตามทบทวนความรู้สึกว่ามีความสุขไหมนะ ที่ได้นำความรู้มาบอกเล่าให้เป็นประโยชน์กับใครๆ มีคำตอบว่า สุขนะสุขอยู่หรอกนะคะ แต่เป็นสุขที่ยังไม่อิ่มเต็มเท่าไรเลยนะคะ เป็นเรื่องแปลกที่ติดอยู่ในใจโดยไม่รู้ รู้สึกว่า ยังไม่พอใจยังไงไม่รู้ อ่านต่อ »


ผักพื้นบ้านยอดนิยม ผสมเบาหวานแล้วอะไรดีบ้างเนอะ

อ่าน: 3191

บ้านสวนพอเพียงมีน้องแป๋มเข้ามาแจมชวนเชิญกินผักพื้นบ้าน ในฐานะสมาชิกก็อดไม่ได้ที่จะช่วยนำมาเผยแพร่ต่อให้ ในเมื่อชวนแล้ว ก็ขอเพิ่มข้อมูลในส่วนที่จะช่วยทำให้คนสบายตัวในการกินผักเหล่านี้ เมื่อมีเรื่องของความหวานผสมในตัวอยู่ในแบบใดก็แล้วแต่ อ่านต่อ »



Main: 0.033159971237183 sec
Sidebar: 0.068670034408569 sec