ความร้อนกับสุขภาพ
ช่วงนี้เป็นช่วงที่อากาศในหลายภาคแปรปรวน เดี๋ยวร้อน เดี๋ยวเปียก ส่วนหนาวนะหายไปเลย
2 ครั้งล่าที่ไปสวนป่า ก็มีเรื่องให้นำกลับมาทบทวนเกี่ยวกับอากาศในอีกมุม
อ่านต่อ »
ช่วงนี้เป็นช่วงที่อากาศในหลายภาคแปรปรวน เดี๋ยวร้อน เดี๋ยวเปียก ส่วนหนาวนะหายไปเลย
2 ครั้งล่าที่ไปสวนป่า ก็มีเรื่องให้นำกลับมาทบทวนเกี่ยวกับอากาศในอีกมุม
อ่านต่อ »
ฟอสฟอรัสเกี่ยวพันใกล้ชิดอยู่ในห่วงโซ่อาหาร ความผูกพันในเชิงสมดุลกับแคลเซียมที่ส่งผลเสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน ทำให้จำเป็นต้องรู้ว่ามันอยู่ที่ไหนบ้างในแหล่งอาหารจากสัตว์และพืช รวมไปถึงรู้สัดส่วนมากน้อยของแคลเซียมในแหล่งอาหารนั้นๆ อ่านต่อ »
คำว่า “สุขภาพดีถ้วนหน้า ( Health for All = HFA )” ปรากฏขึ้นในสังคมไทยเมื่อราวๆปี 2524 ในตอนนั้นคนก็ฮือฮาว่ากระทรวงสาธารณสุขจะทำได้ยังไง เพราะเมื่อได้ยินถ้อยคำที่ใช้ก็จินตนาการกันไปตามความเข้าใจ ตอนนั้นมีคำประกาศว่าจะทำให้สำเร็จภายในปี 2543 ด้วยนะ อ่านต่อ »
เมื่อเข้าไปเยี่ยมคนที่ศูนย์อพยพครั้งที่ ๒ ก็เห็นสตรีในศูนย์นั่งปรุงกับข้าวกันอยู่ ไม่เคยคิดว่าจะเห็นหอยในพื้นที่นี้เลย เห็นแล้วก็ไม่รู้จักหรอกว่าเป็นหอยอะไร ชาวบ้านบอกว่าเก็บมาจากแถวๆธารน้ำไหลใกล้ๆที่พักนั่นเอง
อ่านต่อ »
เวลาที่ผู้คนไปตรวจเลือด มักจะกลับมาคุยกันดังลั่นว่า เดือนนี้หมอไม่บ่นเรื่องไขมัน คุยกันนานเข้าๆ ก็กลายเป็น คอเลสเตอรอลแทน อ่านต่อ »
กลไกต่างๆในร่างกายทำงานเหมือนโรงงานที่ไม่มีวันหยุดเพื่อให้เซลล์มีชีวิตอยู่ได้ เซลล์อยู่ได้ดี อวัยวะซึ่งเป็นศูนย์รวมของเซลล์แต่ละชนิดก็จะมีชีวิตที่สดชื่น ดุลความร้อนภายในร่างกายอาศัยกลไกไม่ต่างจากการปรับดุลของความร้อนบนพื้นโลกเลยละ อ่านต่อ »
เวลาพูดถึงอุณหภูมิ เรามักจะนึกถึงความร้อน-เย็นของอากาศ มากกว่าจะนึกถึงอาการป่วยของร่างกายคนยกเว้นเมื่อไรรู้สึกเมื่อยเนื้อเมื่อยตัว อ่อนแรงหรือเพลีย แล้วจะนึกถึงไข้จริงๆก็ต่อเมื่อจับผิวกายตัวแล้วพบว่าร้อนกว่าปกติ จึงจะหวนมานึกเรื่องของการมีไข้ อ่านต่อ »
เคยติดใจถามหมอฟันว่า สอนเรื่อง “การแปรงฟัน” ทุกปีๆ แล้วทำไมคนจึงยังฟันผุ มีหินปูนมาให้ขูด คำตอบก็มักจะเป็น “แปรงฟันผิดวิธี” วันนี้ไปพบหมอฟันขอใช้บริการขูดหินปูน หมอฟันบอกว่ามีหินปูนนิดหน่อย ก็นึกถึงที่อาจารย์ทวิชบอกว่าจะไม่แปรงฟัน และตั้งคำถามเรื่อง “หินปูนทำไมไม่ละลายในน้ำลาย” ขึ้นมาได้ เลยยกเรื่องในช่องปากมาคุยต่อซะหน่อย อ่านต่อ »
เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๓ ได้มีโอกาสไปเยี่ยมโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง และร่วมเรียนรู้การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ของทีมงานสาธารณสุข มีคนทำงานในร.พ.แห่งนั้นและคนทำงานในสถานีอนามัยของอำเภอแห่งนั้นมาร่วมด้วย วงสนทนาที่เขาจัดขึ้นมีคนไม่ถึง ๑๐ คน ไปฟังเขากลับมาแล้วก็ปิ๊งขึ้นมาได้ว่า ตัวเราก็วิ่งรอกไปโน่นนี่เพื่อฝึกตัวเองและเรียนรู้เรื่อง KM มาจากหลายเวที สมควรแก่เวลาแล้วนะที่จะหันมาทบทวนตัวเองอีกสักครั้ง จึงเป็นเหตุให้เปิดเรื่องราวที่เคยทำ KM เบาหวานขึ้นมาอ่านทบทวน ก็ได้เห็นภาพความคิดของตัวเองในอดีตกับปัจจุบันชัดขึ้น อ่านต่อ »
วันนี้ไปชวนเหล่าแม่ครัวของร.พ.คุยเรื่องขั้นตอนคุณภาพในการผลิตอาหารตามแนวทางสากล แล้วก็เลยได้คุยเรื่องการสอนคนไข้ตามสโลแกนของคนสวยแต่เจ็บที่มีอักษรตัวแรกนำหน้าชื่อว่า “ส” สโลแกนนี้ในยุคทองของเธอหลายท่านคงเคยได้ยินกรอกหูอยู่ทุกๆวัน คุยแล้วก็นึกแวบถึงการกินมังสวิรัติของพ่อครูบาและพี่บู๊ดไปด้วย อืม อาหารมังสวิรัตินี่เข้าแก๊ปกับสโลแกนนี้ได้อย่างลงตัวเลยเชียว