เรื่องยุ่งๆของยุง

อ่าน: 2654

บันทึกนี้ขอนำเรื่องยุงที่ยังคงสร้างปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมาเล่าให้ฟัง เพื่อทำความรู้จักมันให้มากขึ้น

วันนี้ยุงในประเทศไทยที่ทำให้คนป่วยได้ มีอยู่ไม่ต่ำกว่า 4 ชนิดแล้วค่ะ  ที่กำจัดยุงกันได้ยากเพราะว่ายุงเป็นแมลงที่มีวงจรชีวิตหลายระยะ บางระยะมันก็ซ่อนตัวเองไว้ไม่ให้คนเห็น บางระยะมันก็มีความสามารถในการหลบหนีคนได้เร็ว อ่านต่อ »


รัฐสวัสดิการด้านสุขภาพ V.S. สุขภาพดีถ้วนหน้า

อ่าน: 4232

คำว่า “สุขภาพดีถ้วนหน้า ( Health for All = HFA )” ปรากฏขึ้นในสังคมไทยเมื่อราวๆปี 2524  ในตอนนั้นคนก็ฮือฮาว่ากระทรวงสาธารณสุขจะทำได้ยังไง  เพราะเมื่อได้ยินถ้อยคำที่ใช้ก็จินตนาการกันไปตามความเข้าใจ  ตอนนั้นมีคำประกาศว่าจะทำให้สำเร็จภายในปี 2543 ด้วยนะ อ่านต่อ »


จปฐ.กับโครงการ 30 บาท

อ่าน: 2424

คุณภาพชีวิตขั้นต่ำที่สังคมนักวิชาการกำหนดขึ้นเพื่อชวนใช้วัดคุณภาพชีวิตคนไทย 6 ด้าน เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับคนไทยตั้งแต่ก่อนเกิดจนใกล้ตาย อ่านต่อ »


จปฐ.ทำให้รู้จักชุมชนได้อย่างไร

อ่าน: 3319

เรื่องราวที่บรรจุอยู่ในข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) มีที่มาจากความต้องการวัดคุณภาพชีวิตของคนไทยว่าเป็นอย่างไร ระดับใดบ้าง ในแต่ละช่วงเวลา
อ่านต่อ »


เรื่องเหล่านี้ยังสำคัญสำหรับชุมชน

2 ความคิดเห็น โดย สาวตา เมื่อ 8 กรกฏาคม 2011 เวลา 22:58 (เย็น) ในหมวดหมู่ การจัดการ, ความเป็นชุมชน, ชีวิต สุขภาพ, ดูแลสุขภาพ #
อ่าน: 1870

เมื่อก่อนประเทศไทยมีข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ที่ชาวบ้านช่วยกันเก็บรวบรวม สะท้อนปัญหาในครัวเรือนและหมู่บ้าน ให้รู้ว่าคุณภาพชีวิตของคนไทยเป็นอย่างไร

กว่าที่จะได้กรอบความจำเป็นพื้นฐานชุดแรกมาใช้ก็หมดเวลาไปกว่า 4 ปี เริ่มใช้ครั้งแรกปี 2528 ใช้ผ่านมาร่วม 20 ปี ปรับปรุงมาแล้ว 5 ครั้ง ชุดสุดท้ายปรับเมื่อปี 2549
อ่านต่อ »


นาทีทองของการพัฒนาอารมณ์บวกให้ผู้คน

ไม่มีความคิดเห็น โดย สาวตา เมื่อ 2 กรกฏาคม 2011 เวลา 22:42 (เย็น) ในหมวดหมู่ การจัดการ, ชีวิต สุขภาพ, ดูแลสุขภาพ, สิ่งแวดล้อม #
อ่าน: 2048

เวลานี้ หันไปมองทางไหนก็พบเรื่องราวความรุนแรงที่แสดงออกในหลายรูปแบบ มีเสียงกล่าวว่าเป็นเรื่องเกี่ยวข้อง กับการปฏิบัติหน้าที่ของครอบครัว
อ่านต่อ »


ก๊าซมีเทนกับสุขภาพ

อ่าน: 5706

มีเทนเป็นก๊าซไม่มีกลิ่น ไม่มีสี มีคุณสมบัติไวไฟ ก๊าซนี้เป็นส่วนหนึ่งของก๊าซธรรมชาติ (NGV)  ความเบากว่าอากาศของมัน ทำให้มันชอบเพ่นพ่านออกมาแย่งที่ว่างที่อยู่นอกภาชนะบรรจุตัวมันแทนที่ออกซิเจนในอากาศ

ความเบาทำให้มันลอยขึ้นไปสะสมที่จุดสูงกว่าพื้น มันสะสมในพื้นที่ปิดได้ดี ถ้ามีความร้อนและความชื้นสูงมันก็สะสมได้ดี
อ่านต่อ »


ปวดหัวเพราะหอย

อ่าน: 7067

เมื่อเข้าไปเยี่ยมคนที่ศูนย์อพยพครั้งที่ ๒ ก็เห็นสตรีในศูนย์นั่งปรุงกับข้าวกันอยู่ ไม่เคยคิดว่าจะเห็นหอยในพื้นที่นี้เลย เห็นแล้วก็ไม่รู้จักหรอกว่าเป็นหอยอะไร ชาวบ้านบอกว่าเก็บมาจากแถวๆธารน้ำไหลใกล้ๆที่พักนั่นเอง
อ่านต่อ »


น้ำประปาทำเอง

6 ความคิดเห็น โดย สาวตา เมื่อ 6 มิถุนายน 2011 เวลา 0:16 (เช้า) ในหมวดหมู่ การจัดการ, ชีวิต สุขภาพ, ดูแลสุขภาพ, สิ่งแวดล้อม, อุทกภัย #
อ่าน: 16248

โจทย์สำคัญสำหรับพื้นที่น้ำท่วมไม่พ้น เรื่องน้ำสะอาดสำหรับการดื่มกินเพื่อไม่ให้ติดเชื้อทางเดินอาหาร ตอนที่เห็นน้ำในพื้นที่น้ำท่วมไม่ได้ทดสอบว่ามีกลิ่นอย่างไร รู้แต่ว่ามันมีฝ้าๆที่ผิวน้ำด้วย เมื่อมีคำบอกส่งต่อมาว่าน้ำสีสนิมนั้นมีกลิ่นด้วย และน้ำที่เห็นนั้นอาจจะไม่ได้มีแต่สนิมเหล็กปนอยู่ แต่มีอย่างอื่นปนอยู่ด้วย เช่น หินปูน แร่ใยหิน แคลเซียม ฯลฯ ซึ่งดูด้วยตาเปล่าไม่เห็น  ก็ต้องหาทางแก้ให้ อ่านต่อ »


อันเนื่องมาจากพระราชดำริ…บทเรียนที่สอนวิชาสอบสวนโรค

ไม่มีความคิดเห็น โดย สาวตา เมื่อ 28 พฤษภาคม 2011 เวลา 22:37 (เย็น) ในหมวดหมู่ การจัดการ, ชีวิต สุขภาพ, ดูแลสุขภาพ, อาหารกับสุขภาพ #
อ่าน: 2178

แนวคิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ที่กระทรวงสาธารณสุขดำเนินการกันอยู่ ส่วนใหญ่ก็เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจากการใช้หลักคิดด้าน “สังคมวิทยาการแพทย์” เรื่องเกลือก็เป็นเรื่องหนึ่งที่ต่อยอดมาจากหลักสังคมวิทยาการแพทย์ อ่านต่อ »



Main: 0.031025171279907 sec
Sidebar: 0.069269895553589 sec