ตามลม (๗๓) : โลหะหนักอีกกลุ่ม…ที่ไม่ควรละเลยการจัดระบบ….ของเหลือใช้

อ่าน: 1531

ในกลุ่มของโลหะหนักที่เป็นมลสารสำคัญ ยังมี “ธาตุกัมมันตรังสี” ด้วย มลสารกลุ่มนี้มาอยู่ในน้ำเสียได้ ในวิชาน้ำเขาเรียกว่า “สารกัมมันตรังสี (Radioactive Waste)”
อ่านต่อ »


ตามลม (๗๒) : ควรพอใจกับตัววัดน้ำตัวไหน

อ่าน: 1611

เมื่อไนโตรเจนแปรรูปเป็นสารประกอบ ลักษณะกายภาพของน้ำก็มีเรื่องเปลี่ยน แอมโมเีนียไม่ได้มาจากสัตว์ขนาดใหญ่ปล่อยของเสียลงน้ำเท่านั้น แต่สามารถแปรรูปจากไนโตรเจนที่อยู่ในน้ำตรงๆได้จากฝีมือจุลินทรีย์ อ่านต่อ »


ตามลม (๗๑) : แม้จะละลายน้ำได้น้อยนิด…แต่ก็เป็นผู้ทรงอิทธิพลนะ..ขอบอก

อ่าน: 1558

ตั้งแต่เข้าไปเกี่ยวกับเรื่องน้ำโดยบังเอิญ แล้วตัดสินใจใช้ความรู้ระดับมัธยมต้นกับโจทย์ที่พบเจอมาทีละเปลาะ จากความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศวนตามลมลงมาบรรจบกับน้ำบนผิวดินและดิน ไม่น่าเชื่อว่าจะพาวนให้มาบรรจบกับเรื่องน้ำเสียได้

เมื่อคราบขาวเหมือนกระดาษยุ่ยๆที่เปรอะในคูเจ้าปัญหาในวันแรกที่เจอ กับคราบขาวๆที่เกิดเมื่อน้ำประปาหยุดไหล แวบมาสะกิดให้ฉุกใจ กับภาวะ “แบคทีเรียบูม”  ก็เริ่มเห็นมุมน่าสนใจของก๊าซที่ละลายอยู่ในน้ำ
อ่านต่อ »


ตามลม(๗๐) : อีเอ็มกับฟอสฟอรัส

อ่าน: 1690

เมื่อเดินเข้าไปใกล้น้ำเสีย ของเสียจากขบวนการผลิต ส้วม โรงอาหารมักจะมีกลิ่นเหม็น  นักวิชาการเขาว่าเป็นเพราะไม่มีระบบย่อยสลายของเสียต่างๆก่อนทิ้ง หรือมีระบบแต่มีจุลินทรีย์ที่สามารถย่อยอยู่น้อยไป แถมยังเป็นจุลินทรีย์ที่ย่อยไม่สมบูรณ์แบบซะอีกด้วย อ่านต่อ »


ตามลม (๖๙) : สีตะกอนที่เห็นมันคืออะไีร

อ่าน: 1757

มีวันหนึ่งแวะไปด้อมๆมองๆน้ำที่ขังใต้ตึกเจ้าปัญหาอีกรอบ ด้วยเหตุที่การประปางดจ่ายน้ำเข้ามาให้รพ. แล้วกังวลกันว่าน้ำใต้ตึกจะส่งกลิ่นเหม็น

สะดุดตากับคราบสีขาวเป็นหย่อมๆเต็มไปหมดบนพื้นดิน เป็นคราบขาวชนิดเดียวกับที่เคยเห็นเมื่อครั้งแรกที่มาดูคู  คอยหาคำตอบมาตลอดว่าคราบนี้เกิดขึ้นได้ยังไง มาวันนี้ก็ยังไม่แน่ใจกับคำตอบที่พบ อ่านต่อ »



Main: 0.018774032592773 sec
Sidebar: 0.40957713127136 sec