ตามลม (๘๔) : ยืดชีวิตให้กับน้ำ….สำเร็จไปขั้นหนึ่งแล้ว
บอกให้ลูกน้องสำรวจคูอีกรอบ หาความเหมือนและความต่างเพื่อออกแบบการปิดคูที่สามารถลอกตะกอนได้ ก็ได้ผลมาว่า คูมี 2 ลักษณะ
อ่านต่อ »
บอกให้ลูกน้องสำรวจคูอีกรอบ หาความเหมือนและความต่างเพื่อออกแบบการปิดคูที่สามารถลอกตะกอนได้ ก็ได้ผลมาว่า คูมี 2 ลักษณะ
อ่านต่อ »
จำเป็นต้องคิดให้หลายตลบกับเรื่องของการปิดฝาคู ด้วยว่าเคยมีเหตุที่เป็นครูสอนไว้ เรื่องราวนี้สร้างความระทึกขวัญไม่เบา
ในบ้านเรามีเหตุเกิดที่ศูนย์การค้าแห่งหนึ่งที่ลาดพร้าว ซึ่งจู่ๆบ่อบำบัดน้ำเสียก็ระเบิดขึ้น และเหตุการณ์ของส้วมระเบิดที่ศูนย์ราชการในจังหวัดทางเหนือ ในต่างประเทศมีเหตุการณ์ส้วมเคลื่อนที่ระเบิดเพราะซิการ์ อ่านต่อ »
วนเวียนกลับไปดูคูใหม่ เพื่อเปรียบเทียบระบบกรอง และระบบเติมออกซิเจนที่ไปรู้เพิ่มมาจากระบบน้ำของอะควาเรียม เพิ่งรู้ว่าในระบบอะควาเรียมเขาใช้ระบบกรองแบบชีวบำบัดด้วย
อ่านต่อ »
ตั้งแต่นำสิ่งประดิษฐ์จากเศษวัสดุไปลองดู ก็มีการวัดคุณภาพน้ำคู่ไปด้วย เพื่อให้เข้าใจกายภาพของน้ำที่ตาเห็น
ค่า DO ที่บอกถึงความสกปรก และการใช้ออกซิเจนจัดการกับความสกปรก วัดได้จริง 0-0.5 อ่านต่อ »
ออกซิเจนและไนโตรเจนละลายน้ำได้น้อยที่สุดเมื่อเทียบกับก๊าซอื่นๆ มีปัจจัยอยู่ 3 อย่างที่มีผลต่อการละลายน้ำของออกซิเจน คือ อุณหภูมิ ความดันในน้ำ และปริมาณเกลือแร่กับสารปนเปื้อนในน้ำ
ออกซิเจนและไนโตรเจนละลายน้ำแปรผันกลับกับอุณหภูมิน้ำ และแปรผันตรงกับความดันของตัวมันเองในน้ำ อ่านต่อ »