ตามลม (๗๕) : การยอมให้มีใบไม้ ดอกไม้ร่วงลงในระบบบำบัดน้ำเสียไม่ดียังไง

อ่าน: 1500

เจ้าตัวจิ๋วมีบทบาทอยู่ในขั้นตอนบำบัดอยู่ 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนของการบำบัดแบบใช้อากาศ ช่วยย่อยสลายสารอินทรีย์เป็นคาร์บอเนต ไนเตรต แอมโมเนีย ฟอสเฟต และซัลเฟต ซึ่งสามารถเลือกวิธีได้ 2 รูปแบบ อ่านต่อ »


ตามลม (๗๔) : ตะกอน…ตะกอน…ตะกอน…จะทำให้หมดไปได้มั๊ย

อ่าน: 1426

ในวันหนึ่งของปีที่แล้ว มีข้อปรึกษาส่งมาว่าบ่อดักไขมันร้านค้าเอกชนล้นจะทำยังไงดี  ทำให้มีการรื้อบ่อและจัดการกับคราบไขมันที่ก่อน้ำเหม็น ตลอดจนตะกอนดินมากมายที่ก้นบ่อกันไปยกหนึ่ง
อ่านต่อ »


ตามลม (๗๓) : โลหะหนักอีกกลุ่ม…ที่ไม่ควรละเลยการจัดระบบ….ของเหลือใช้

อ่าน: 1519

ในกลุ่มของโลหะหนักที่เป็นมลสารสำคัญ ยังมี “ธาตุกัมมันตรังสี” ด้วย มลสารกลุ่มนี้มาอยู่ในน้ำเสียได้ ในวิชาน้ำเขาเรียกว่า “สารกัมมันตรังสี (Radioactive Waste)”
อ่านต่อ »


ตามลม (๗๒) : ควรพอใจกับตัววัดน้ำตัวไหน

อ่าน: 1600

เมื่อไนโตรเจนแปรรูปเป็นสารประกอบ ลักษณะกายภาพของน้ำก็มีเรื่องเปลี่ยน แอมโมเีนียไม่ได้มาจากสัตว์ขนาดใหญ่ปล่อยของเสียลงน้ำเท่านั้น แต่สามารถแปรรูปจากไนโตรเจนที่อยู่ในน้ำตรงๆได้จากฝีมือจุลินทรีย์ อ่านต่อ »


ตามลม (๗๑) : แม้จะละลายน้ำได้น้อยนิด…แต่ก็เป็นผู้ทรงอิทธิพลนะ..ขอบอก

อ่าน: 1549

ตั้งแต่เข้าไปเกี่ยวกับเรื่องน้ำโดยบังเอิญ แล้วตัดสินใจใช้ความรู้ระดับมัธยมต้นกับโจทย์ที่พบเจอมาทีละเปลาะ จากความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศวนตามลมลงมาบรรจบกับน้ำบนผิวดินและดิน ไม่น่าเชื่อว่าจะพาวนให้มาบรรจบกับเรื่องน้ำเสียได้

เมื่อคราบขาวเหมือนกระดาษยุ่ยๆที่เปรอะในคูเจ้าปัญหาในวันแรกที่เจอ กับคราบขาวๆที่เกิดเมื่อน้ำประปาหยุดไหล แวบมาสะกิดให้ฉุกใจ กับภาวะ “แบคทีเรียบูม”  ก็เริ่มเห็นมุมน่าสนใจของก๊าซที่ละลายอยู่ในน้ำ
อ่านต่อ »



Main: 0.049346923828125 sec
Sidebar: 0.40481615066528 sec