๒๒. สันติวิธีในสังคมไทยการรับรู้และความเข้าใจ ๒
ขอต่อให้จบตอนในวันนี้เลยนะครับ คราวที่แล้วในนำบันทึกที่ อาจารย์มารค พูดถึงว่าการบรรยายจะมีสามหัวข้อ พูดไปแล้วสองหัวข้อ หัวข้อนี้เป็นหัวข้อสุดท้าย คือหัวข้อ…
ขอต่อให้จบตอนในวันนี้เลยนะครับ คราวที่แล้วในนำบันทึกที่ อาจารย์มารค พูดถึงว่าการบรรยายจะมีสามหัวข้อ พูดไปแล้วสองหัวข้อ หัวข้อนี้เป็นหัวข้อสุดท้าย คือหัวข้อ…
ก่อน ที่ รศ.ดร.มารค ตามไท บรรยายต่อในวันนี้ มีการอ่านบทกลอนผิวสี เป็นภาษาอังกฤษโดยคุณโสภณ องค์การ และหญิงเล็ก ศิริบูรณ์ อ่านเป็นภาษาไทย เป็นบทกลอนเรื่องผิวสีที่น่าสนใจที่เด็กผิวดำเขียน ว่าเมื่อเขาเกิดมาเขาผิวดำ โตขึ้นเขาก็มีสีผิวเหมือนเดิม ป่วย แก่ เขาก็เหมือนเดิม พวกเขาตายผิวก็ยังเหมือนเดิม คุณเกิดมาผิวขาว เล็กๆผิวชมพู พอคุณป่วยผิวคุณเป็นสีน้ำเงิน พอตายผิวคุณก็เป็นสีเทา แล้วคุณยังมาเรียกฉันว่าพวกผิวสี…..
วันนี้ผมขอต่อให้จบที่พี่แจ๋ บรรยายนะครับ นำสรุปบรรยายขึ้นติดๆกันทุกวัน กลัวว่าผู้อ่านจะเบื่อ และอ่านไม่ทัน สังเกตดูว่าถ้าเขียนแล้วอีกสองวันค่อยเพิ่มบันทึกจะมีคนอ่านมากกว่าเพิ่ม บันทึกทุกวัน แต่ไม่เป็นไร เพราะสิ่งที่ต้องการคือมีบทสรุปให้ทุกท่านได้ติดตามอย่างไม่ขาดครับ
พี่แจ๋หรือป้าแจ๋ ได้ยกตัวอย่างเพื่อทำความเข้าใจกับพวกเราโดยเอาเรื่องที่เกิดขึ้นจริงมาเล่า สู่กันฟัง จึงทำให้การบรรยายของพี่แจ๋ น่าสนใจมากยิ่งขึ้นครับ พี่แจ๋ยกตัวอย่าง…
วันนี้เราเรียนกับป้าแจ๋ จิราพร บุนนาค ผู้หญิงมั่น อดีตรองเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เจ๋งไม่เจ๋งก็ลองคิดดู อิอิ ลีลาการพูดเสียงดังฟังชัดจดบันทึกง่าย แต่จะไม่แนะนำมากเพราะเพราะ อ.แหววจะทำหน้าที่บันทึกแนะนำผู้คนใน girl gang เดี๋ยวไปแย่งการทำมาหากินของ อ.แหวว อิอิ
พอจบแบบทดสอบที่ ๑ เราก็มาต่อแบบทดสอบที่สอง คราวนี้เป็นการใช้สมองซีกขวา ส่วนของความคิดสร้างสรรค์ สมองซีกนี้จะเป็น ART เคยฟังโน้ต อุดม พูดเรื่อง ART ใน เดี่ยว ๗ บ้างไหม สุดยอด….(ยกตัวอย่างปลากะพง ๑ ตัว คนไทยเอามาทอดทำปลาราดพริก ขายตัวละ ๓๐๐ บาท ญี่ปุ่นเอามาแล่สดๆ ๔ ชิ้น ไม่ต้องปรุงอะไร ใส่จานกระเบื้อง จานใหญ่ มีผักประดับบนจาน มีหัวไชเท้าฝอยๆ ผักชี แครอทให้มีสีสัน ขายจานละ ๑,๒๐๐ บาท Art ไหมครับ เพราะ ART นี่แหละที่ทำให้มันแพง…อิอิ) เรามาต่อที่บทเรียนคำสั่งมีว่า “ให้คุณลองคิดว่า ไม้แขวนเสื้อใช้ทำอะไรได้บ้างนอกจากแขวนเสื้อผ้า เขียนสั้นๆไม่ต้องอธิบาย พยายามนึกให้ได้หลากหลายที่สุด ใน ๓ นาที
ในช่วงบ่ายวันนี้เป็นหัวข้อ “การทำแผนที่ความขัดแย้ง” ซึ่งบรรยายโดยนักศึกษาที่เข้ามาเรียนร่วมกับเรา ท่านคือ รศ.ดร.ชัญญา อภิปาลกุล หรือพี่อิ้งหรือเจ๊อิ้งของน้องๆ กับฉายาใหม่ที่โกติ่งตั้งให้หลังจากบรรยายเสร็จ ก็คือ หม่อมราดชะวงสะอิ้ง ณ ขอนแก่น
เรามาต่อจากตอนที่แล้วนะครับ
อาจารย์พูดถึงว่า ในการจัดเวที การสอบถามก็ต้องถามเพื่อให้รู้คำตอบว่า interest คืออะไร และคำถามที่ใช้ต้องเป็นคำถามปลายเปิด ห้ามใช้คำถามปลายปิด (อย่างที่บังยุบ เข้ามา comment ในบันทึกที่แล้ว) และการทำความเข้าใจกับประชาชนต้องใช้ภาษาอย่างที่ประชาชนเข้าใจง่ายๆ
วันนี้ขอต่อเรื่องราวที่รศ.ดร.สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์ บรรยายให้จบนะครับ ในส่วนของกรอบการวิเคราะห์ความขัดแย้ง Conflict Mapping or Conflict Analysis Framework ทำไมต้องมาวิเคราะห์ความขัดแย้ง ก็เพราะ เมื่อเกิดความขัดแย้ง ปัญหาก็คือจะมีความสับสน ความสัมพันธ์ของฝ่ายต่างๆเปลี่ยนแปลงไป บางทีเฉียบพลันรุนแรง ผลที่ตามมาอาจจะเกิดความรุนแรง จึงต้องมีการวิเคราะห์ความขัดแย้ง โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Conflict mapping(อเมริกัน) หรือ Conflict Assessment Framework (แคนาดา) มีคำถามว่าใครจะเป็นคนใช้กรอบวิเคราะห์ความขัดแย้ง และใช้เพื่ออะไร ถ้า เราเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้ง ใช้เพื่อทำความเข้าใจความขัดแย้งในมุมมองของตัวเอง หรือคู่กรณีใช้ร่วมกันเพื่อเข้าใจว่าคู่กรณีอีกฝ่ายมีความคิดอย่างไร ถ้าเราเป็นคนกลางก็ใช้เพื่อทำความเข้าใจความขัดแย้งและเป็นเครื่องมือในการ หาทางออกร่วมกัน
รศ. ดร.สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์ วิทยากรของเราวันนี้ท่านเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยนครพนม ท่านบอกว่าเรื่องที่บรรยายเป็นความคิดเห็นส่วนตัวและประสบการณ์จากการแก้ไข ปัญหาความขัดแย้ง อาจารย์เล่าให้ฟังว่าเรื่องของการตั้งหน่วยงาน ในเบื้องต้นศึกษา public policy conflict ความขัดแย้งในนโยบายภาครัฐ ซึ่งจะเป็นโครงการที่กระทบต่อประชาชน เช่น โครงการสร้างโรงไฟฟ้า เป็นต้น เมื่อเรามาลองศึกษาโครงการของรัฐที่กระทบต่อประชาชน แล้วจะเห็นว่า