รำเขมรรำไทย….ใครลอกใคร.ได้เวลาชำระเศษฝรั่ง
โธ่เอ๋ย เมื่อสมัยขอมโบราณ สยามทอผ้าไหมได้ เขมรยังชุนผ้าไม่เป็นเลย นับเลขก็ได้แค่ห้า (โปรดอ่านบทความ ขอมสยามเขมร…ทฤษฎีใหม่.ตอนแรกๆ )
หลักฐาน เหตุผล ว่าเขมรลอกการรำไปจากไทย มีอยู่พร้อมมูลในเอกสารวิจัย ยาวเหยียด 24 หน้า ลองอ่านดูนะ
ชื่อ post cambodian court dance……
http://kyoto-seas.org/2011/02/southeast-asian-studies-vol-42-no-4/
เป็นเอกสารวิจัยในรายละเอียดโดยนักวิชาการญี่ปุ่น ที่เป็นกลาง และมีการอ้างอิงที่สมบูรณ์ น่าเชื่อถือมาก
โดยสรุปเอกสารนี้ระบุว่า เขมรลอกละคร การร่ายรำไปจากไทย แล้วมาเจอ อิทธิพลฝรั่งเศส ที่ต้องการครอบครองจิตวิญญาณเขมรให้เด็ดขาดเพื่อแยกออกจากไทย ซึ่งเป็นผลประโยชน์ต่อการครอบครองอาณานิคมเขมรของฝรั่งเศส ดังนั้นนักวิชาการฝรั่งเศสเลยปั้นเรื่องว่า การรำเขมรมีต้นกำเนิดมาแต่สมัยนครวัดโน่น เพื่อสร้างความรักชาติ (ซึ่งทำให้ห่างจากไทยแล้วไปเข้าทางฝรั่งเศส ทำนองว่า เป็นบุญคุณของฝรั่งเศสนะเนี่ย ที่ทำให้เราฉลาดและคิดออก ดังนั้น ต้องถือเป็นบุญคุณที่ฝรั่งเศสมาช่วยเราปลดแอกทางความคิด) (น่าคิดว่า แทคติคเดียวกันนี้พวกอังกฤษก็ใช้ในอัฟริกา และ ได้ถูกพวกคอมมิวนิสต์นำมาใช้ในการแยกแรงงานออกจากนายทุนในภายหลังอีก 150 ปี)
ข้างล่างนี้คือข้อมูลที่ผม คัด ตัด ย่อมาจากwikipedia ตามลิงค์นี้
http://en.wikipedia.org/wiki/Royal_Ballet_of_Cambodia
ตัวภาษาไทยคือ สิ่งที่ผมเติมเข้าไป ให้เห็นว่าลอกมาจากไทยทั้งสิ้น
… หมายถึงข้อความยาวยืดที่ตัดออก
ตัวละครเขมร
Neay rong (นายรอง)
- Neay rong ek - (นายรองเอก)
- Philieng ek - (พี่เลี้ยง)
- Sena ek - the generals (เสนาเอก)
เข้าใจว่าเขมรลอกมาผิด ไม่มีพระเอก มีแต่ นายรอง และ นายรองเอก แทนที่จะเป็นพระเอก พระรองแบบเรา หรือว่าเราเองผิด เพราะอย่าลืมว่านี่เป็นละครนอกใน ที่คำว่าพระเอก พระรอง ยังไม่มีก็เป็นได้
Neang (นาง)
- Neang ek - deities, queens (นางเอก)
- Neang rong - noblewomen or angels ((นางรอง)
- Philieng ek - female aid-de-camp (พี่เลี้ยงเอก)
- Neang kamnan or philieng - (นางกำนัล)
เออ..แปลก แต่พอเป็นนาง กับเป็นนางเอก นางรอง พี่เลี้ยง เหมือนเราเลย
Yeak (ยักษ์)
- Yeak ek - premiere ogres or asuras (ยักษ์เอก คงคือ ผู้ร้ายเอก)
- Yeak rong - the lesser ogres (ผู้ร้ายรอง)
- Yeakheney - ogresses, yakkhini (ยักษ์ขิณี)
Other character types
- Apsaras - celestial nymphs (อภัสรา)
- Kinnorey - the mythical kinnaris (กินนรี)
- Maccha - mermaids (มัจฉา ..นางเงือก)
- Ngoh - a special masculine role depicting a negrito (เงาะป่า)
[edit] Costume (เครื่องแต่งกาย)
Female costume
…. Worn over the left shoulder is a shawl-like garment called a sbai (สไบ) (also known as the robang khnang, literally ‘back cover’), ……Around the neck is an embroidered collar called a srang kar. (? Kar = คอ)
[edit] Male costume
….On the end of their shoulders are a sort of epaulette that is arching upwards like Indra’s bow (known as inthanu). อินทรธนู
Another component of the male costumes are three richly embroidered banners worn around the front waist. The center piece is known as a robang muk (ระเบียงมุข ?) …
Male characters also wear an x-like strap around the body called a sangvar,
(สังวาร)
[edit] Headdress
…..crown called a mokot ksat (มงกุฎกษัตริย์) for male characters and a mokot ksatrey (มงกุฎกษัตริย์ตรี) for female characters……. The rat klao (รัดเกล้า) is worn by princess’ ……
[edit] Music
See main article; Pinpeat (พิณพาทย์)
|
Krai Thong (ไกรทอง) A song from a scene in the dance drama Krai Thong. |
Problems listening to this file? See media help. |
Music instruments (เครื่องดนตรีเขมร)
- Roneat ek: The lead xylophone (ระนาดเอก)
- Roneat thung: A xylophone with bamboo (ระนาดทุ้ม)
- Roneat dek: A metallophone of brass keys
- Roneat thong: A metallophone (now, rarely used)
- Kong thom: A set of 16 gongs (กลองทม ..กลองใหญ่ )
- Kong toch: Like the previous, (กลองตีอก..กลองเล็ก ?)
- Chhing: A pair of finger cymbals (ฉิ่ง)
- Krap: A pair of wood clappers (กรับ)
- Sralai: A type of shawm; there are two sizes
- Khloy: A type of flute made from bamboo (ขลุ่ย)
[edit] Music pieces
Khmer classical dance uses a particular piece of music for a certain event, such as when a dancer enters a scene, performing certain actions, such as flying, or walking, and when leaving the stage. These musical pieces are arranged to form a suite. New pieces of music are rarely created.
Below is a select list of music pieces used in the repertoire
- Sathukar: (សាធុការ) a song of blessing used for propitiation, often used to commence a performance (สาธุการ)
- Krao nai: (ក្រៅណៃ) overture of the yeak (กราวใน..ไทยแท้ๆ)
- Smaeu: (ស្មើ) used for the induction of a character
- Lea: (លា) used to present a character’s departure of the scene; leaving the stage
- Cheut chhing: (ជើតឈិង) lit., euphonic chhing; music (เชิดฉิ่ง)
- Long song mon: (លងស៊ងមន) lit., royal bathing of the Mon; (ลงสรงมอญ)
- Phya deun: (ផ្យាឌើន); a music piece use to present dancers marching (e.g. the beginning of robam tep monorom) (พญาเดิน)
- Klom: (ក្លុម) used to show the grace and beauty of a character wielding his weapon …กล่อม
- Sinuon: (ស៊ីនួន) - lit., ‘cream color’ in reference to complexion, a soft and slow melody …ศรีนวล
[edit] Dance Dramas
The Royal Ballet of Cambodia’s repertoire of dance dramas (រឿង, roeung) (เรื่อง) consists of a myriad of stories unlike the lakhon khol (ละครนอก) ted only to the Ramayana. Many of the dance dramas have analogs in the lakhon nai (ละครใน) e genre of Thailand but do not share the same choreography or exact storyline. During the time of Queen Kossamak, several dance dramas were re-choreographed and shortened such as Roeung Preah Thong-Neang Neak; (เรื่องพระทองนางนาค) this drama would later be recreated again in 2003 among others.
A dance of tribute used in a dance drama titled Preah Ket Mealea, (พระเกดมาลัย) circa 1965.
[edit] Select repertory of dance dramas
- Reamker (Ramakerti, រាមកេរ្តិ៍): Ramayana …รามเกียรติ์
- Preah Sothon-Neang Monorea (ព្រះសូធន-พระสุธนนางมโนราห์
- Krai Thong (ក្រៃថោង) …ไกรทอง
- Inao (ឥណាវ): Panji …อิเหนา
- Kakey (កាកី): Kakati-Jataka ….กากี
- Preah Anoruth-Neang Usa (ព្រះអនុរុទ្ធ-នាងឧសា): Aniruddha ….พระอนุรุทธ นางอุษา
[edit] Dances
In contrast to the dance dramas are shorter dances known as robam. (ระบำ)
…such as robam mekhala-reamso (ระบำเมขลา-รามสูร) and robam sovan macchha (ระบำสุวรรณมัจฉา)
[edit] Select repertory of dances
« « Prev : อุ่นไอรัก
Next : รักษาไข้ด้วยตนเอง..ตามประสาหมาแมว » »
ความคิดเห็นสำหรับ "รำเขมรรำไทย….ใครลอกใคร.ได้เวลาชำระเศษฝรั่ง"