ความปรารถนาครั้งสุดท้ายของอเล็กซานเดอร์มหาราช

ไม่มีความคิดเห็น โดย ถัง เมื่อ 4 เมษายน 2010 เวลา 11:53 ในหมวดหมู่ ข้อคิด/ปรัชญา #
อ่าน: 1398

อเล็กซานเดอร์มหาราช  จักพรรดิ์ผู้เกรียงไกรแห่งกรีก  ตรัสแก่ข้าราชบริพารก่อนสิ้นพระชนม์ชีพว่า “จงฝังร่างของข้าโดยไม่ต้องสร้างอนุสาวรีย์  ปล่อยให้มือของข้าปรากฎออกมาภายนอก  เพื่อให้ผู้คนรู้ว่า  แม้ผู้ที่เคยมีชัยมาทั่วปฐพี  ก็มีเพียงมือที่ว่างเปล่าเมื่อยามละไปจากโลกนี้”

Alexander’s last word: “Burry my body, do not build any monument, keep my hands outside so that the world knows the person who won the world had nothing in his hands when dying”

 

The great Greek king, Alexander, after conquering many kingdoms, was returning home. On the way, he fell ill and he was bedridden for months. With death drawing close, Alexander realized how his conquests, his great army, his sharp sward and all his wealth were of no use.

He called his generals and said,  ”I will depart from this world soon. But I have three wishes. Please fullfill my wishes without fail.”  With tears flowing down their cheeks, the generals agreed to abide their king’s last wishes

“My first desire is that,” said Alexander, “my physicians alone must carry my coffin” “Secondly, when my coffin is being carried to the grave, the path leading to the graveyard should be strewn with gold, silver and precious stones which I have collected in my treasury. My third and last wish is that both my hands should be kept dangling out of my coffin.” The people who had gathered there wonder at the king’s strange wishes. But no one dareed to question. Alexander’s favorite general kissed his hand and pressed them to his heart. “O king, we assure you that your wishes will all be fullfilled. But tell us why do you make such stannge wishes?”

At this Alexander took a deep breath and said, “I would like the world to know of the three lessons I have just learnt. I want my physicians to carry my coffin because people should realize that no doctor can really cure anybody. They are powerless and cannot save person from the clutches of death. So let not people take life for granted.

The second wish of strewing gold and other riches on the way to graveyard is to tell people that not even a fraction of gold can be taken by me. Let people realize that it is a sheer waste of time to chase wealth.

And about my third wish of having my hands dangling out of the coffin, I want people to know that I came empty handed into this world and empty handed I go out of this world.”


เส้นแบ่งระหว่างเมตตากับกล้าเผชิญ

ไม่มีความคิดเห็น โดย ถัง เมื่อ 4 เมษายน 2010 เวลา 9:46 ในหมวดหมู่ การบริหาร #
อ่าน: 1604

วันนี้   ดิฉันยังหดหู่อยู่เช่นเดิม

ชีวิตของการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย  บ่อยครั้งที่ผลประเมินการเรียนรู้ของลูกศิษย์ที่สุดแสนจะเหลือขอ

ทำให้อาจารย์ต้องตกอยู่ในภาวะที่ต้องตัดสินใจว่าจะเมตตา ยอมให้ผ่าน ยอมให้จบการศึกษาไปประกอบอาชีพได้ หรือจะตัดอนาคตด้วยการให้ retire เพราะเขาก็ร่ำเรียนมาจนใกล้จบปีสุดท้ายพอดี

เราจะเมตตา หรือกล้าเผชิญกับความรู้สึกผิดที่มีส่วนทำให้วิถีชีวิตการงานของลูกศิษย์คนหนึ่งต้องดับวูบลง ไม่มีปริญญาบัตรแสดงความสำเร็จที่สังคมยอมรับ

(วกกลับมาที่สาเหตุจริงๆ ของความหดหู่ใจ ในวันนี้)

ดิฉันจึงเข้าใจดีว่า

หากผลการประเมินผู้บริหารออกมาว่า อยู่ในขั้นเหลือขอเช่นกัน  ผู้ใหญ่ที่ใหญ่กว่าคงต้องลำบากใจที่จะตัดสินออกมาในรูปแบบใด  รูปแบบหนึ่ง

ดังนั้น  ผลการเรียนที่ ได้ :  F  F  F  F  F  F  F  F  F  D  D  D  D  รวมๆ แล้วได้รับการประเมินให้ “ผ่าน” ได้

ฉันใด…ก็ฉันนั้น….

ผลการประเมินที่ได้ : ไม่ผ่าน  ไม่ผ่าน  ไม่ผ่าน  ไม่ผ่าน  ไม่ผ่าน  ไม่ผ่าน  ไม่ผ่าน  ไม่ผ่าน  ไม่ผ่าน  ผ่านแบบมีเงื่อนไข ผ่านแบบมีเงื่อนไข ผ่านแบบมีเงื่อนไข ผ่านแบบมีเงื่อนไข   รวมๆ แล้วได้รับการประเมินให้ “ทำงานต่อไป” ได้ เช่นกัน 

ในโลกแห่งความเป็นจริง  เมื่อยืนอยู่ระหว่างเส้นแบ่งของเมตตากับกล้าเผชิญ  มักไม่มีใครเลือกเผชิญความเป็นจริง

 

 



Main: 0.014845848083496 sec
Sidebar: 0.22326898574829 sec