การบันทึกข้อมูลการทำงานเชิงช่างลงสมุดบันทึก
อ่าน: 995ผมมีบุคคลที่ชื่นชอบและชื่นชมอยู่ในดวงใจมากมาย ทั้งไทยและเทศ หนึ่งในจำนวนนั้นคือคุณ Glen Williamson ซึ่งแอบชื่นชมและใช้ประโยชน์จากวิทยาทานของท่านมานับสิบปี ท่านเป็นผู้ใหญ่ใจดี ที่มีจิตสาธารณะอันสูงยิ่งในความรู้สึกของผม ประสบการณ์ที่กว้างขวาง ลุ่มลึก และมากมายในด้านวิศวกรรมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ ได้รับการแปรรูปให้เป็นของง่ายๆ สะดวกต่อการเรียนรู้ของมือใหม่ผ่าน Website ของท่าน ส่วนมีอะไรน่าสนใจบ้างคงต้องลองเข้าไปดูเองครับ
สำหรับบันทึกนี้ตั้งใจจะถ่ายทอดคำชี้แนะของท่านผู้นี้ในเรื่อง การบันทึกข้อมูลเชิงช่างลงสมุดบันทึก ขอนำต้นฉบับมาลงโดยไม่แปลนะครับ เนื่องจากไม่ค่อยมีเวลา
Keep a Contemporaneous Engineering Notebook.
That means, Write EVERYTHING Down, even include a dentist appointment; that’s what helps make it a believable Legal Document.
So keep the notebook up to date and have it Witnessed often by those whom you trust, and understand your work.
This can mean the difference between Owning the Patent Rights to your Work, or NOT! Also, it can jog the old memory and reduce the number of times you do the same tests. “…gee, have I already done that…”
Of course, It Don’t Hurt when Final Reports are Due!
So Anticipate the Patent Application process: use a Legally and Scientifically Accepted Format.
Here’s How :
(1) Use a Bound (stitched binding) notebook. DO NOT use a loose leaf or Spiral bound notebook!
(2) Entries Should be in Permanent Ink–Not Pencil.
(3) The Title, Project Number, and Book Number should be accurately recorded when starting a New Page.
(4) All data is to be recorded directly into the notebook. The inclusion of all elaborate details is preferable. Notes and calculations should be done in the notebook, NOT on loose paper. In the case of an error, draw a single line through the incorrect data. Do Not Erase or use correction fluid. All corrections should be initialed and dated.
(5) After entering your data, sign and date all entries. Witness or witnesses should sign and date each entry. The witness must observe the work that is done, and have sufficient knowledge to understand what they read. Names of all who were present during any demonstration should also be recorded.
(6) Use Both sides of a Page.
Never leave any White Space: “X” out or Crosshatch all unused space, and don’t forget to initial & date same.
(7) All contents of the notebook should be kept strictly Confidential. It should be kept in a Protected place to safeguard against Loss.
ผมถือปฏิบัติตามนี้อยู่บ้างครับ และคิดว่าจะต้องทำให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นอีก ที่ผ่านมามันไม่ค่อยจริงจังสักเท่าไหร่ ใครไม่เคยทำก็อยากให้ลองทำครับ มีประโยชน์มาก
ก่อนจบอดไม่ได้ ขอแถมอีกหน่อย เพื่อป็นการเชิดชูคนดีในดวงใจคนนี้ของผม
ชื่อ : Glen A. Williamson
Website : http://williamson-labs.com/
ประสบการณ์-ผลงาน ความคิดอ่านมากมาย คลิกดูได้จาก Menu ในหน้า Homepage ครับ เช่น …
- ผลงานวิจัยและประดิษฐ์คิดค้น
- ภาพ Animation อธิบายหลักการทางไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์
- ประวัติการทำงาน
- คำนิยม คำชื่นชมจากผู้คน
- … ฯลฯ
เข้าไปดูเถอะครับ รับรองไม่ผิดหวัง
« « Prev : ตอบคำถามศิษย์เก่า เรื่อง “เกิดมาทำไม”
Next : เมื่อผมกับ ดร.เม้ง คุยกันใหม่ๆ » »
1 ความคิดเห็น
ไม่เคยรู้จักมาก่อนเลยค่ะพี่แฮนดี้ แต่อ่านแล้วน่าสนใจ คนที่มีความสามารถเชิงช่างถือว่ามีทั้งศาสตร์และศิลป์ในตัว มิน่า..พี่แฮนดี้ถึงเจ๋งนัก ^ ^
เห็นด้วยกับคำแนะนำของเค้านะคะ งานฝีมือ เคล็ดดีๆหายจากสังคมไทยไปเยอะเพราะไม่มีการบันทึก