วันพิเศษ…. อิอิ
อ่าน: 60238ทุกวันเป็นวันพิเศษ…. ทำเรื่องเล็กๆธรรมดาๆให้เป็นเรื่องพิเศษ
วันนี้ก็เป็นวันพิเศษวันหนึ่ง…….
ทุกวันเป็นวันพิเศษ…. ทำเรื่องเล็กๆธรรมดาๆให้เป็นเรื่องพิเศษ
วันนี้ก็เป็นวันพิเศษวันหนึ่ง…….
เทศบาล นครพิษณุโลกได้ทดลองถังหมักและคอกหมักมาหลายแบบ แบบที่ใช้ไม้ทำก็สวยดีแต่จะผุพังง่าย อายุใช้งานสั้น ชาวบ้านนิยมใช้วงบ่อคอนกรีตมาเป็นถังหมัก และใช้อิฐบล็อกมาทำเป็นคอกหมักครับ
คราว นี้มาลองดูว่าจะใช้ถังหมักปุ๋ยหรือคอกหมักปุ๋ยแบบไหนดี ก็เลยรวบรวมถังหมักปุ๋ยและคอกหมักปุ๋ยมาให้ดูเล่น ชอบแบบไหนก็ลองนำไปประยุกต์ใช้เอง ใครมีอะไรดีๆก็แนะนำมาหน่อยนะครับ
เทศบาลนครพิษณุโลกได้ทดลองถังหมักและคอกหมักมาหลายแบบ แบบที่ใช้ไม้ทำก็สวยดีแต่จะผุพังง่าย อายุใช้งานสั้น ชาวบ้านนิยมใช้วงบ่อคอนกรีตมาเป็นถังหมัก และใช้อิฐบล็อกมาทำเป็นคอกหมักครับ
อ่านต่อ »
สถาน ที่ที่จะใช้หมักปุ๋ยไม่ควรอยู่ห่างจากบ้านมากเกินไป เพราะจะไม่สดวกเวลานำวัสดุต่างๆไปใส่ในถังหมัก ควรให้อยู่ในที่ที่ระบายน้ำได้ดี ควรอยู่ไม่ห่างจากก๊อกน้ำหรือแหล่งน้ำ ไม่ควรตั้งคอกหมักหรือถังหมักในที่โล่ง และควรตั้งอยู่บนพื้นดิน
ตอนนี้คงทราบปัจจัยที่สำคัญในการหมักปุ๋ยแล้วนะครับ ที่เล่าให้ฟังเป็นการหมักปุ๋ยที่บ้าน ( Backyard Composting ) ถ้าสนใจจะทำก็เริ่มกันเลยนะครับ เริ่มกันที่การเลือกสถานที่นะครับ
อ่านต่อ »
การทำปุ๋ยหมัก ( Composting ) ตอนที่ 5 ขนาดของกองหมัก
ในการทำปุ๋ยหมักจะคล้ายๆการทำเหล้า คือหมักเสร็จแล้วต้องมีการบ่มต่ออีกสักระยะหนึ่ง ถ้าบ่มจนได้ที่ มีรสกลมกล่อม อ่านต่อ »
ใน การทำปุ๋ยหมัก นอกจากต้องใช้วัสดุสีน้ำตาลและวัสดุสีเขียวให้ได้สัดส่วน ดูแลให้มีอากาศเข้าไปในกองหมัก ต้องคอยดูแลความชื้นให้พอดี การหมักจึงจะได้ผลดีและใช้เวลาน้อย
อ่านต่อ »
ใน การหมักปุ๋ย นอกจากผสมวัสดุสีน้ำตาลและวัสดุสีเขียวให้ได้สัดส่วนแล้ว ต้องดูแลให้อากาศเข้าไปในกองหมักได้ดี ด้วยการใช้วัสดุที่มีขนาดเหมาะสม ต้องคอยกลับกองหมักทุก 5-7 วัน และต้องดูแลอย่าให้กองหมักแฉะหรือมีความชื้นมากเกินไป
ปัจจัยที่สนับสนุนการหมัก
1. สัดส่วนวัสดุสีน้ำตาล : วัสดุสีเขียว
2. อากาศ
3. ความชื้น
4. ขนาดของกอง
ถ้าพูดในเชิงทฤษฎีก็คือ Optimum Composting Conditions
1. Carbon : Nitrogen <> 30 : 1
2. Oxygen > 5 %
3. Moisture 40-60 %
4. Temperature 90-140 F
อ่านต่อ »
การหมักจะเกิดขึ้นได้เร็วและมีประสิทธิภาพต้องมีสัดส่วนของวัสดุสีน้ำตาลและ วัสดุสีเขียวที่เหมาะสม ในเชิงทฤษฎีก็คือต้องผสมกันให้ได้สัดส่วน C:N ratio ( Carbon : Nitrogen ratio) ประมาณ 30:1 โดยน้ำหนัก
ต่อจากตอนที่ 1
ปัจจัยที่สนับสนุนการหมัก
1. สัดส่วนวัสดุสีน้ำตาล : วัสดุสีเขียว
2. อากาศ
3. ความชื้น
4. ขนาดของกอง
อ่านต่อ »
คน สมัยปู่ย่าตายายของเราก็รู้วิธีและทำปุ๋ยหมักกันมานานแล้ว แต่ปัจจุบันเราทอดทิ้งภูมิปัญญาพื้นบ้านแล้วหันไปพึ่งพาปุ๋ยเคมี ซึ่งก่อปัญหาอื่นๆตามมาอีก เช่นดินเสื่อมสภาพ การขาดดุลการค้า ฯ
การทำปุ๋ยหมักก็เป็นการที่มนุษย์สังเกตุสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ แล้วนำมาปรับประยุกต์ใช้ คนสมัยปู่ย่าตายายของเราก็รู้วิธีและทำกันมานานแล้ว แต่ปัจจุบันเราทอดทิ้งภูมิปัญญาพื้นบ้านแล้วหันไปพึ่งพาปุ๋ยเคมี ซึ่งก่อปัญหาอื่นๆตามมาอีก เช่นดินเสื่อมสภาพ การขาดดุลการค้า ฯ
เราสามารถทำปุ๋ยหมักใช้เองที่บ้าน หรือแยกขยะอินทรีย์ออกจากขยะทั่วไปตั้งแต่ครัวเรือนเพื่อไม่ให้เกิดการปน เปื้อนกับสารหรือวัตถุอันตรายต่างๆ แล้วให้ท้องถิ่นเก็บไปทำปุ๋ยหมักที่โรงงานทำปุ๋ย ( กรณีที่ท้องถิ่นมีโรงงานทำปุ๋ยหมัก ) ก็จะสามารถลดปริมาณขยะที่ต้องเก็บ ขนส่งและนำไปกำจัดลงได้เกือบครึ่ง ซึ่งก็หมายถึงการลดค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะมูลฝอยลงได้ด้วย
อ่านต่อ »
วันนี้ขอแนะนำหน่วยงานหน่วยงานหนึ่งให้รู้จัก คือ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม Environmental Research and Training Center- ERTC เพราะเป็นหน่วยงานที่มีความสำคัญแต่คนทั่วไปไม่ค่อยรู้จัก แต่ในอนาคตคงจะเป็นที่รู้จักกันมากขึ้น ที่แนะนำหน่วยงานนี้เพราะได้ร่วมมือกับกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครพิษณุโลกและ GTZ จัดการอบรมการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน CBM
อ่านต่อ »
ผลกระทบที่เกิดขึ้นในพื้นที่หลังจากการฝึกอบรมตามหลักสูตรการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน-CBM จากการลงสำรวจในพื้นที่ 8 แห่ง ที่คัดเลือกจาก 20 แห่ง ของคุณวไลทัศน์ วรกุล ได้ผลโดยสรุปดังนี้
การดำเนินการหลังการฝึกอบรม ทุกแห่งมีการดำเนินการหลังการฝึกอบรม บางแห่งมีการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติมเพื่อให้กิจกรรมสามารถตอบสนองต่อความต้องการของครัวเรือนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมได้มากขึ้น อ่านต่อ »